ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2011

อูบุนตู คือ อะไร (What is ubuntu?)

บันตู (Ubuntu) เป็นลินุกซ์ดิสทริบิวชันที่พัฒนาต่อมาจากเดเบียน การพัฒนาสนับสนุนโดยบริษัท Canonical Ltd ซึ่งเป็นบริษัทของนายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ชื่อของดิสทริบิวชันนั้นมาจากคำในภาษาซูลู และภาษาโคซา (ภาษาในแอฟริกาใต้) ว่า Ubuntu ซึ่งมีความหมายในภาษาอังกฤษคือ “humanity towards others” อูบุนตูต่างจากเดเบียนตรงที่ออกรุ่นใหม่ทุก 6 เดือน และแต่ละรุ่นจะมีระยะเวลาในการสนับสนุนเป็นเวลา 18 เดือน รุ่นปัจจุบันของ Ubuntu คือ 11.04 รหัส Natty Narwhal ซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่รวมมาใน อูบุนตูนั้นเป็นซอฟต์แวร์เสรีทั้งหมด โดยจุดมุ่งหมายหลักของ อูบุนตูคือเป็นระบบปฏิบัติการสำหรับคนทั่วไป ที่มีโปรแกรมทันสมัย และมีเสถียรภาพในระดับที่ยอมรับได้ read more

Install ubuntu 11.10 from USB

Insert a USB stick with at least 2GB of free space The easiest way to get up an running with USB is to use the USB installer provided by pendrivelinux.com. You’ll need to download and install that and then come back here and follow the instructions. Read more

Cloud Computing คืออะไร รู้จักกับ Cloud Computing ฉบับ imodclub กันเถอะ ตอนที่ 3

ครั้งก่อนที่ได้ยกตัวอย่างการใช้งานเกี่ยวกับ Google Apps ไปแล้ว วันนี้มายกตัวอย่างอีกตัวอย่างนึง โดยผมจะไม่กล่าวถึงประเภทของตัวอย่างนะครับ เนื่องจากข้อมูลผมยังไม่เพียงพอ แต่จะค่อยๆ ทยอยหามาให้อ่านกันครับ โดย ตัวอย่างของ Cloud Computig อีกตัวนึง คือ Dropbox (้ http://www.dropbox.com ) เป็น cloud computing อีกประเภทนึง ที่ให้บริการในการฝากไฟล์ และเก็บไฟล์งานของเรา หากเปรียบกับองค์กรที่มี File sharing เป็นของตนเอง คือทุกคนสามารถใช้งาน Drive ที่แชร์กันได้ หลายๆคน แต่จำกัดเพียงในวง intranet เท่านั้น Dropbox ก็ถือเป็นการให้บริการ File sharing เช่นกันครับ โดยมันจะสร้างไดร์ว ในเครื่องคอมพิวเตอร์ของคุณ สามารถเก็บข้อมูลในไดร์วนั้นได้ โดยที่คุณไม่ต้องมีแฟรซไดร์วเพื่อทำการเซฟข้อมูลและเอาไปใช้งานที่อื่น Read more

Cloud Computing คืออะไร รู้จักกับ Cloud Computing ฉบับ imodclub กันเถอะ ยกตัวอย่างการใช้งาน

ครั้งก่อน ผมได้กล่าวถึงเรื่องของ Cloud computing ไปอย่างคร่าวๆ แล้ว ( รู้จักกับ Cloud Computing ฉบับ imodclub) วันนี้ผมเลยได้ทดลองหาตัวอย่างมาลองเล่นดู พบว่าเหมาะสำหรับองค์กรที่มีไม่ค่อยได้อยู่กับที่จริงๆ คุณอาจจะมี PC มี Ipad มีอะไรก็ตามแต่ คุณก็จะสามารถใช้งานมันได้ โดยเพียงแค่มี Internet เท่านั้น Read more

Cloud Computing คืออะไร รู้จักกับ Cloud Computing ฉบับ imodclub กันเถอะ

บทความเกี่ยวกับเรื่องของคลาวด์ คอมพิวติ้ง นี้ มันคืออะไร มันคือเทคโนโลยีที่เกิดใหม่ใช่ไหม แล้วมันใช้งานยังไง นี่คือคำตอบที่ผมหามาได้และสรุปพอเข้าใจอย่างง่ายๆ คำว่า Cloud คือ “ก้อนเมฆ” Read more

ลบค่า AutoComplete ใน IE

เวลากรอกข้อมูลในแบบฟอร์มบนเว็บไซต์ บราวเซอร์ IE มักจะเติมคำที่เหลือให้เองโดยอัตโนมัติ หลังจากที่พิมพ์ตัวอักษรตัวแรกเข้าไป หากต้องการที่จะลบค่าทำได้ดังนี้ เปิดโปรแกรม IE คลิ้กเมนู Tools เลือก Internet Options จากนั้นคลิ้กแท็บ Content แล้วคลิ้กปุ่ม AutoComplete ในไดอะล็อกบ็อกซ์ AutoComplete Settings ให้คุณยกเลิกเช็กบ็อกซ์หน้าหัวข้อ Delete Autocomplete history ก็เสร็จแล้วครับ

อาการเสียและการแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์

1. บูตเครื่องขึ้นมาแล้ว ทุกอย่างไม่ทำงานและเงียบสนิท ให้ตรวจสอบที่พัดลมด้านท้ายเครื่องว่าหมุนหรือไม่ หากไม่หมุนให้ตรวจสอบปลั๊กไฟมีไฟหรือไม่ 2. บูตเครื่องแล้วจอมืด แต่ไฟ LED หน้าจอและไฟเคสติด เช็คในส่วนของขั้วสายไฟ และขั้วสายสัญญาณระหว่างเคสและจอภาพ หรือไม่ก็อาจเป็นเพราะเสียบการ์ดจอไม่แน่นหากตรวจเช็คอาการเหล่านี้แล้ว ทุกอย่างเป็นปกติดีสาเหตุน่าจะเกิดจากการ์ดแสดงผล และจอภาพ ให้ลองถอดการ์ดจอออก และใช้การ์ดจอออนบอร์ดดู และให้ทดลองนำจอภาพที่ใช้ได้มาเสียบแล้วทดสอบดู 3. บูตเครื่องแล้วมีไฟที่หน้าเคสและไฟฟล็อบปี้ไดรฟ์ แต่จอมืดและทุกอย่างเงียบสนิท ให้ตรวจสอบที่การเชื่อมต่อระหว่างขั้วต่อสายไฟของเพาเวอร์ซัพพลายกับเมนบอร์ดถูกต้องหรือไม่ หลุดหลวมหรือเปล่าตรวจสอบสายแพที่เชื่อมต่อกับขั้วต่อ IDE ของฮาร์ดดิสก์, ฟล็อบปี้ดิสก์ และซีดีรอม ถูกต้องหรือไม่ หลุดหลวมหรือไม่ ตรวจสอบการติดตั้งซีพียูว่าใส่ด้านถูกหรือไม่ ซีพียูเสียหรือไม่ ตรวจสอบจัมเปอร์หรือดิปสวิทช์ และการเข้าไปเปลี่ยนแปลงค่าในไบออสว่ามีการกำหนดค่าที่ถูกต้องหรือไม่ โดยเฉพาะค่าแรงดันไฟ Vcore 4. จอภาพแสดงข้อความผิดพลาดว่า HDD FAILURE

Antivirus for ubuntu Bitdefender

BitDefender is a program to check for Windows viruses and malware. It can be run in the background or on demand when required. Once installed it can be found under Applications - Systems Tools. It can be used as an alternative to clamav/clamtk Add the repository by going to System - Administration - Software Sources, click on the 'Other Software' (previously 'Third Party Software') tab. Now click on 'Add' and enter deb http://download.bitdefender.com/repos/deb/ bitdefender non-free Click on 'Close' and press 'Reload' when prompted. Ignore the 'public key is not available' message (as we'll add it next) and press 'Close'. Now in Applications - Accessories - Terminal add the repository key: wget http://download.bitdefender.com/repos/deb/bd.key.asc sudo apt-key add bd.key.asc Now update the apt cache with sudo apt-get update Install the graphical interface and command line program (2 files) with sudo apt-get insta

5 ข้อแนะนำ ก่อนลงวินโดวส์ใหม่

1 สิ่งแรกที่ควรทำคือ สำรวจดูว่ามีงานเก็บอยู่ในไดรฟ์ที่ติดตั้ง windows หรือไม่ โดยเฉพาะไฟล์งานต่างๆ ที่ชอบวางแปะไว้บนเดสก์ทอป หากพบว่าไม่สามารถเข้าไปถึงส่วนของ desktop windows ได้เลย คุณอาจต้องใช้แผ่นบูตของ windows 98/ME ซึ่งเป็นการบูตผ่านดอสโหมดเข้ามาช่วย ในกรณีที่ window ของคุณถูกติดตั้งอยู่ในไดรฟ์ C: ไฟล์ต่างๆ ที่วางไว้บนเดสก์ทอปจะอยู่ที่ไดเรกทอรี C:\Documents and Settings\Administrator\Desktop (ล็อกออนด้วยแอกเคานต์ของ Admin) และไดเรกทอรี C:\Documents and Settings\Users Account\Desktop (ล็อกอินด้วยยูสเซอร์แอกเคานต์ทั่วไป) 2. หากเราต้องการความรวดเร็วในการติดตั้ง windows ละก็ สิ่งที่ต้องทำก็คือ ถอดอุปกรณ์ที่ยังไม่จำเป็นออกไปก่อน เช่น การ์ดทีวี จูนเนอร์ การ์ดเสียง การ์ดแลน หรือหากมีอุปกรณ์ต่อพ่วงอย่าง พรินเตอร์ สแกนเนอร์ โมเด็ม ให้ถอดอุปกรณ์พวกนี้ออกไปก่อนก็จะช่วยให้ลงได้เร็วขึ้นได้ 3. สแกนตรวจสอบแผ่นติดตั้ง windows ก่อน ปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้นถ้าคุณใช้แผ่น window ที่ถูกลิขสิทธิ์ครับ เพราะทางผู้ผลิตจะตรวจสอบทุกไฟล์ว่ามีไวรัสหรือมีโค้ดอันตรายแฝงมาด้วยหรือไม่ ถ้าคุณไปก๊อบปี้แผ่นวินโดวส์

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC เมนบอร์ดเป็นแผงวงจรหลักที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ ดังนั้น จึงควรรู้จักตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างบนเมนบอร์ดเสียก่อน จึงจะสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อุปกรณ์หลักที่สำคัญก็มีช็อกเกตสำหรับติดตั้งซีพียู, ช็อกเกตแรม และซิปเซตที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมด หัวต่อและสล็อตสำหรับติดตั้งอุปกรณ์และการ์ดต่างๆ รวมไปถึงหัวต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่ต่อออกทางด้านหลังเครื่อง อุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเมนบอร์ดได้แก่  1. ช็อกเกตซีพียู (CPU Socket) ช็อกเกตซีพียู เป็นตำแหน่งติดตั้งซีพียู โดยรูปแบบของช็อกเกตจะแตกต่างกันไปตามยี่ห้อและรุ่นของซีพียู การซื้อเมนบอร์ดจะต้องตรวจสอบว่าต้องการใช้กับซีพียูยี่ห้อใดและรุ่นไหน หากซื้อซีพียูที่มีช็อกเกตไม่ตรงกับเมนบอร์ดจะไม่สามารถใช้งานได้ ปัจจุบันจะมีช็อกเกตที่ใช้งานบนเมนบอร์ดคือ Intel LGA 775,  Intel LGA 1150, Intel LGA 1151, Intel LGA1155 และ Intel LGA 2066 ใช้สำหรับซีพียู Intel ทั้งหมด แต่ต้องดูด้วยว่า ซีพียู อินเทลใดใช้ช็อกเกตเท่าไหร่ ส่วน AMD AM4, AMD sTRX4 และ AMD TR4 จะใช้สำหรับ CPU AMD เท่านั้นซึ่งก็เหมือนกับอินเทล ซี

รวม Code Debug Card Mainboard

รวม Code Debug Card Mainboard สำหรับช่างซ่อมคอมมือใหม่ที่มีเครื่องมือ Debug Card เป็นตัวช่วยแล้ว บางครั้งอาจจะไม่รู้ว่าค่า Error Code นั้นคืออะไร ผมได้สืบหาข้อมูลและเขียนเพื่อเตือนความจำของตนเองไว้ เพราะไม่ค่อยได้ใช้ตัว Debug Card นี้เช่นกัน นานๆครั้งมาใช้นั้น ค่อนข้างที่จะค้นหาข้อมูลอย่างลำบากเช่นกัน ผมจึงได้รวบรวมข้อมูลมาจากเว็บที่หาข้อมูลได้ ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลด้วยครับ CODE : ความหมาย 00 : ไม่มีสัญญาณให้เช็ค CPU หรือลองหา CPU ตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ 01 : CPU TEST รอบที่ 1 02 : CPU TEST รอบที่ 2 04 : TEST Memory รีเฟรช ของอุปกรณ์ ต่าง ๆ  05 : Key board controller อาจมีปัญหา 07 : BIOS battery อาจจะหมด 0B : TEST cmos checksum 0D : เช็ค VGA CARD Interface C0 : ทดสอบหน่วยความจำและ slot(ลองฉีด สเปรย์สารพัดพิษดูครับ) 0E : เช็คหน่วยความจำ VGA(ลองหาตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ)  11 :อาจมีปัญหาที่ DMA controller 41 : ให้ตรวจสอบ FLOPPY Drive 42 : .ให้ตรวจสอบ HARD DISK 43 : ค้นหาและตรวจสอบ serial และ parallel port 45 : ให้เช็ค Mainboard ว่าเข้ากับ CPU ไ

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด พอร์ตเชื่อมต่อแบบต่างๆ คือ หัวต่อที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และเครื่องพิมพ์ สายแลน เป็นต้น ลักษณะของหัวต่อแต่ละแบบจะมีมาตรฐานและแตกต่างกันออกไปอยู่แล้ว จึงไม่ต้องกังวลว่าจะเสียบผิดรูปแบบ เพราะแต่ละหัวต่อจะมีรูปแบบไม่เหมือนกัน พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด มีดังนี้ 1. หัวต่อคีย์บอร์ดหรือเมาส์แบบ PS2 จะใช้คีย์บอร์ดก็ได้ หรือเมาส์ก็ได้ ปัจจุบันหัวต่อ PS2 ได้เลิกใช้งานไปแล้ว 2. หัวต่อ USB 2.0 ใช้สำหรับเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้สาย USB ต่าง ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูล USB 2.0 นี้มีมากถึง 480 Mbps  3. หัวต่อจอภาพ แบบ Display port ใช้สำหรับเชื่อมต่อจอภาพที่เป็นประเภท Display port ส่งข้อมูลภาพได้สูง เหมาะสำหรับทำ Multi Display หรือการเชื่อมต่อหลายๆจอภาพ 4. หัวต่อจอภาพแบบ HDMI ปัจจุบัน (ปี 2020) เริ่มมีการใช้มากขึ้น เนื่องจากส่งข้อมูลความละเอียดภาพได้มากถึง 4K และอนาคตจะมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 5. หัวต่อจอภาพแบบ DVI เป็นการพัฒนาการส่งออกจอภาพต่อจาก VGA เป็นช่วงเวลานึง ปัจจุบันจะไม่ค่อยมีใช้แล้ว 6. หัวต่อจอภาพแบบ VGA ใช