ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก ตุลาคม, 2019

การเปลี่ยนชื่อ user account ใน windows 10

การเปลี่ยนชื่อ user account ใน windows 10 ในการตั้งชื่อ user account ใน windows 10 นั้น ส่วนใหญ่จะทำการตั้งชื่อในระหว่างติดตั้งโปรแกรม windows 10 และภายหลังจากที่คุณได้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือนำเครื่องคอมพิวเตอร์ไปติดตั้งที่ร้านมานั้น คุณอาจจะไม่ได้ชื่อ user ตามที่คุณต้องการ เช่น การนำไปใช้งานพวกโปรแกรมที่ต้องลงชื่อทั้งหลายนั้น เวลาที่ลงชื่อคุณจะไม่ได้ชื่อของคุณ ยกตัวอย่าง ร้านคอมพิวเตอร์ ติดตั้งโปรแกรม Windows 10 แล้วตั้งชื่อ account name : ABC123 มาให้ หากคุณไปใช้งานโปรแกรม Adobe acrobat แล้วใส่ คอมเม้นในไฟล์ PDF ซึ่งมันจะขึ้นชื่อ ABC123 เวลาที่ใส่คอมเม้น ซึ่งหากใช้งานคนเดียวจะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถ้าใช้งานร่วมกับคนอื่นล่ะ ใครจะรู้จัก ABC123 ของเรากันน๊า การเปลี่ยนชื่อ user account ใน windows 10 นั้น ทำง่ายๆ โดย 1. เปลี่ยนชื่อ User Account 2. เปลี่ยนชื่อในระบบ ขั้นตอนที่ 1 เปลี่ยนชื่อ User Account 1 . ให้กดปุ่ม Start Windows ที่คีย์บอร์ดแล้วพิมพ์คำว่า Control Panel แล้วกด Enter เข้าไปเลย 2. เลือกที่ User Account 3. เลือกที่ Change your account name

เลือกซื้อคอมพิวเตอร์ยี่ห้อไหนดี

การ  เลือกซื้อคอมพิวเตอร์ยี่ห้อไหนดี มีหลายท่านถามผมว่า "ถ้าซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ยี่ห้อไหนดี" ผมก็คงต้องตอบไปตามสัญชาติญาณช่างซ่อมคอมพิวเตอร์กากๆ ว่า " ทุกวันนี้ ไม่มีคอมพิวเตอร์ยี่ห้อไหนดีที่สุดครับ " เพราะมีการแข่งขันกันสูง ก็ต้องดูงบประมาณที่จะซื้อและการรับประกันของแต่ละยี่ห้อ การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์สักเครื่องก็เหมือนกับการซื้อหวย ถ้าถูกหวยก็เจอของไม่ดีแล้วก็ว่ายี่ห้อนั้นไม่ดี จะแอนตี้ไปตลอดชีวิต ในการที่จะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์สักเครื่อง ต้องดูที่ระยะรับประกัน ซึ่งส่วนใหญ่ทางร้านจะรับประกันเครื่อง 1 ปี ถ้ารับประกันนาน ยิ่งแสดงถึงความการันตีว่ายี่ห้อนี้มันดีจรัง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับสภาพการใช้งานของตนเองด้วย เช่น  - การนำ Notebook ไปใช้บนที่นอน โดยวางกับที่นอนโดยตรงทำให้ Notebook ระบายอากาศไม่ได้ -การใช้เครื่อง PC ในสภาพแวดล้อมที่ไฟตกบ่อย เครื่องคอมดับบ่อย  - หรือการปิดเครื่องอย่างผิดวิธี สิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์พังเร็ว ต่อให้รับประกันยาวๆ ก็ทำให้เครื่องพังก่อนได้ ถ้าหากอยากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์นานๆ ก็ต้องยืดอายุการใช้งาน 

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC เมนบอร์ดเป็นแผงวงจรหลักที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ ดังนั้น จึงควรรู้จักตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างบนเมนบอร์ดเสียก่อน จึงจะสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อุปกรณ์หลักที่สำคัญก็มีช็อกเกตสำหรับติดตั้งซีพียู, ช็อกเกตแรม และซิปเซตที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมด หัวต่อและสล็อตสำหรับติดตั้งอุปกรณ์และการ์ดต่างๆ รวมไปถึงหัวต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่ต่อออกทางด้านหลังเครื่อง อุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเมนบอร์ดได้แก่  1. ช็อกเกตซีพียู (CPU Socket) ช็อกเกตซีพียู เป็นตำแหน่งติดตั้งซีพียู โดยรูปแบบของช็อกเกตจะแตกต่างกันไปตามยี่ห้อและรุ่นของซีพียู การซื้อเมนบอร์ดจะต้องตรวจสอบว่าต้องการใช้กับซีพียูยี่ห้อใดและรุ่นไหน หากซื้อซีพียูที่มีช็อกเกตไม่ตรงกับเมนบอร์ดจะไม่สามารถใช้งานได้ ปัจจุบันจะมีช็อกเกตที่ใช้งานบนเมนบอร์ดคือ Intel LGA 775,  Intel LGA 1150, Intel LGA 1151, Intel LGA1155 และ Intel LGA 2066 ใช้สำหรับซีพียู Intel ทั้งหมด แต่ต้องดูด้วยว่า ซีพียู อินเทลใดใช้ช็อกเกตเท่าไหร่ ส่วน AMD AM4, AMD sTRX4 และ AMD TR4 จะใช้สำหรับ CPU AMD เท่านั้นซึ่งก็เหมือนกับอินเทล ซี

รวม Code Debug Card Mainboard

รวม Code Debug Card Mainboard สำหรับช่างซ่อมคอมมือใหม่ที่มีเครื่องมือ Debug Card เป็นตัวช่วยแล้ว บางครั้งอาจจะไม่รู้ว่าค่า Error Code นั้นคืออะไร ผมได้สืบหาข้อมูลและเขียนเพื่อเตือนความจำของตนเองไว้ เพราะไม่ค่อยได้ใช้ตัว Debug Card นี้เช่นกัน นานๆครั้งมาใช้นั้น ค่อนข้างที่จะค้นหาข้อมูลอย่างลำบากเช่นกัน ผมจึงได้รวบรวมข้อมูลมาจากเว็บที่หาข้อมูลได้ ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลด้วยครับ CODE : ความหมาย 00 : ไม่มีสัญญาณให้เช็ค CPU หรือลองหา CPU ตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ 01 : CPU TEST รอบที่ 1 02 : CPU TEST รอบที่ 2 04 : TEST Memory รีเฟรช ของอุปกรณ์ ต่าง ๆ  05 : Key board controller อาจมีปัญหา 07 : BIOS battery อาจจะหมด 0B : TEST cmos checksum 0D : เช็ค VGA CARD Interface C0 : ทดสอบหน่วยความจำและ slot(ลองฉีด สเปรย์สารพัดพิษดูครับ) 0E : เช็คหน่วยความจำ VGA(ลองหาตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ)  11 :อาจมีปัญหาที่ DMA controller 41 : ให้ตรวจสอบ FLOPPY Drive 42 : .ให้ตรวจสอบ HARD DISK 43 : ค้นหาและตรวจสอบ serial และ parallel port 45 : ให้เช็ค Mainboard ว่าเข้ากับ CPU ไ

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด พอร์ตเชื่อมต่อแบบต่างๆ คือ หัวต่อที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และเครื่องพิมพ์ สายแลน เป็นต้น ลักษณะของหัวต่อแต่ละแบบจะมีมาตรฐานและแตกต่างกันออกไปอยู่แล้ว จึงไม่ต้องกังวลว่าจะเสียบผิดรูปแบบ เพราะแต่ละหัวต่อจะมีรูปแบบไม่เหมือนกัน พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด มีดังนี้ 1. หัวต่อคีย์บอร์ดหรือเมาส์แบบ PS2 จะใช้คีย์บอร์ดก็ได้ หรือเมาส์ก็ได้ ปัจจุบันหัวต่อ PS2 ได้เลิกใช้งานไปแล้ว 2. หัวต่อ USB 2.0 ใช้สำหรับเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้สาย USB ต่าง ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูล USB 2.0 นี้มีมากถึง 480 Mbps  3. หัวต่อจอภาพ แบบ Display port ใช้สำหรับเชื่อมต่อจอภาพที่เป็นประเภท Display port ส่งข้อมูลภาพได้สูง เหมาะสำหรับทำ Multi Display หรือการเชื่อมต่อหลายๆจอภาพ 4. หัวต่อจอภาพแบบ HDMI ปัจจุบัน (ปี 2020) เริ่มมีการใช้มากขึ้น เนื่องจากส่งข้อมูลความละเอียดภาพได้มากถึง 4K และอนาคตจะมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 5. หัวต่อจอภาพแบบ DVI เป็นการพัฒนาการส่งออกจอภาพต่อจาก VGA เป็นช่วงเวลานึง ปัจจุบันจะไม่ค่อยมีใช้แล้ว 6. หัวต่อจอภาพแบบ VGA ใช