ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การใช้งาน jCombo Box และ jTextField ให้แสดงผลใน jLabel ใน NetBeans ( หัดเขียนโปรแกรม JAVA )

การใช้งาน jCombo Box, jTextField ให้แสดงผลใน jLabel ใน NetBeans ( หัดเขียนโปรแกรม JAVA )


comment : โพสนี้สำหรับเตือนความจำ และผู้ที่กำลังศึกษา ผมกำลังศึกษาหัดเขียนโปรแกรมเล่นๆครับ บางเรื่องที่ท่านถามมาผมอาจจะตอบไม่ได้ เพราะเป็นมือใหม่เช่นเดียวกัน

จากบทความที่แล้ว ได้กล่าวเรื่องการใช้งาน jCombo Box ใน netbeans การใช้งาน jCombo Box ใน NetBeans ( หัดเขียนโปรแกรม JAVA ) การส่งค่าตัวเลขให้ตรงกับตัวเลือกใน box บทความนี้ผมมาหัดเขียนเกี่ยวกับ การใช้งาน การใช้งาน jCombo Box, jTextField ให้แสดงผลใน jLabel ใน NetBeans เลยนำมาเขียนบทความไว้กันลืมครับ

มาเริ่มกันเลยครับ 
1. เปิดโปรแกรม แล้วสร้างโปรเจ็ค ตั้งชื่อโปรเจ็คให้เรียบร้อย เอาเครื่องหมายถูกหน้า Create Main Class ออกให้เรียบร้อย


2. สร้าง jFrame และสร้าง Form 
       
-สร้าง jFrame


- ตั้งชื่อ jFrame

- สร้างฟอร์มตามรูป
จากรูปฟอร์มด้านบน จะประกอบไปด้วย
 - Combo Box - นาย
                     - นางสาว
                     - นาง
ชื่อตัวแปร jCombobox


 - Text Field เอาไว้รับค่า "ชื่อ" 
ชื่อตัวแปร jTextField1 
text = "ค่าว่าง"


- Text Field เอาไว้รับค่านามสกุล
ชื่อตัวแปร jTextField2 
text = "ค่าว่าง"


- Label 1 ตั้งชื่อคำว่า "นามสกุล"


- Label2 เอาไว้แสดงผล ชื่อตัวแปร jLabel2

ทำการลบ Text ใน jLabel2 ทำให้เป็นค่าว่าง คำว่า jLabel2  จะหายไป

3. เมื่อสร้างฟอร์มเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทำการเขียนโค๊ดเพื่อสร้างเหตุการณ์ โดย เมื่อใส่ค่าชื่อและนามสกุลกดปุ่ม "ตกลง" จะนำค่าไปแสดงที่ jLabel2
คลิ๊กขวาปุ่ม "ตกลง" -->Events-->Action-->actionPerformed



เขียนโค๊ดเพื่อลำดับเหตุการณ์
 private void jButton1ActionPerformed(java.awt.event.ActionEvent evt) {                                        
        int number = jComboBox1.getSelectedIndex();    //สร้างตัวแปรสำหรับรับค่าที่เป็นตัวเลขจาก jCombo Box
        

        //สร้างตัวแปร String สำหรับเก็บค่าจาก text field และ jCombo Box
        String FirstName;
        String Name = jTextField1.getText();
        String Lastname= jTextField2.getText();
       
        
        
        //สร้างเงื่อนไขเพื่อรับค่าจาก jCombo box เมื่อมีการส่งค่า
        switch(number){
            case 0 : FirstName="นาย"; break;
            case 1 : FirstName="นางสาว"; break;
            default: FirstName="นาง"; break;
        }
        
        
        //แสดงค่าที่ใน jLabel2 
        jLabel2.setText(FirstName+" "+Name+" "+Lastname);
       
    }        
คำอธิบาย
- สร้างตัวแปร number ชนิดตัวเลขเพื่อรับค่าจาก jComboBox1
- สร้างตัวแปร FirstName เพื่อใช้เก็บค่าจาก jComboBox1 
- สร้างตัวแปร Name และ LastName เก็บค่าจาก jTextField ทั้งสอง
- สร้างเงื่อนไขให้กับ jComboBox1 เมื่อรับค่าจากตัวเลข โดยให้ 0 = นาย , 1 = นางสาว, 2 = นาง และนำไปเก็บไว้ในตัวแปร FirstName ตามลำดับ
- แสดงค่าที่ jLabel2.setText

ทำการรันโปรแกรมครับ

                             

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC เมนบอร์ดเป็นแผงวงจรหลักที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ ดังนั้น จึงควรรู้จักตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างบนเมนบอร์ดเสียก่อน จึงจะสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อุปกรณ์หลักที่สำคัญก็มีช็อกเกตสำหรับติดตั้งซีพียู, ช็อกเกตแรม และซิปเซตที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมด หัวต่อและสล็อตสำหรับติดตั้งอุปกรณ์และการ์ดต่างๆ รวมไปถึงหัวต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่ต่อออกทางด้านหลังเครื่อง อุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเมนบอร์ดได้แก่  1. ช็อกเกตซีพียู (CPU Socket) ช็อกเกตซีพียู เป็นตำแหน่งติดตั้งซีพียู โดยรูปแบบของช็อกเกตจะแตกต่างกันไปตามยี่ห้อและรุ่นของซีพียู การซื้อเมนบอร์ดจะต้องตรวจสอบว่าต้องการใช้กับซีพียูยี่ห้อใดและรุ่นไหน หากซื้อซีพียูที่มีช็อกเกตไม่ตรงกับเมนบอร์ดจะไม่สามารถใช้งานได้ ปัจจุบันจะมีช็อกเกตที่ใช้งานบนเมนบอร์ดคือ Intel LGA 775,  Intel LGA 1150, Intel LGA 1151, Intel LGA1155 และ Intel LGA 2066 ใช้สำหรับซีพียู Intel ทั้งหมด แต่ต้องดูด้วยว่า ซีพียู อินเทลใดใช้ช็อกเกตเท่าไหร่ ส่วน AMD AM4, AMD sTRX4 และ AMD TR4 จะใช้สำหรับ CPU AMD เท่านั้นซึ่งก็เหมือนกับอินเทล ซี

รวม Code Debug Card Mainboard

รวม Code Debug Card Mainboard สำหรับช่างซ่อมคอมมือใหม่ที่มีเครื่องมือ Debug Card เป็นตัวช่วยแล้ว บางครั้งอาจจะไม่รู้ว่าค่า Error Code นั้นคืออะไร ผมได้สืบหาข้อมูลและเขียนเพื่อเตือนความจำของตนเองไว้ เพราะไม่ค่อยได้ใช้ตัว Debug Card นี้เช่นกัน นานๆครั้งมาใช้นั้น ค่อนข้างที่จะค้นหาข้อมูลอย่างลำบากเช่นกัน ผมจึงได้รวบรวมข้อมูลมาจากเว็บที่หาข้อมูลได้ ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลด้วยครับ CODE : ความหมาย 00 : ไม่มีสัญญาณให้เช็ค CPU หรือลองหา CPU ตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ 01 : CPU TEST รอบที่ 1 02 : CPU TEST รอบที่ 2 04 : TEST Memory รีเฟรช ของอุปกรณ์ ต่าง ๆ  05 : Key board controller อาจมีปัญหา 07 : BIOS battery อาจจะหมด 0B : TEST cmos checksum 0D : เช็ค VGA CARD Interface C0 : ทดสอบหน่วยความจำและ slot(ลองฉีด สเปรย์สารพัดพิษดูครับ) 0E : เช็คหน่วยความจำ VGA(ลองหาตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ)  11 :อาจมีปัญหาที่ DMA controller 41 : ให้ตรวจสอบ FLOPPY Drive 42 : .ให้ตรวจสอบ HARD DISK 43 : ค้นหาและตรวจสอบ serial และ parallel port 45 : ให้เช็ค Mainboard ว่าเข้ากับ CPU ไ

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด

พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด พอร์ตเชื่อมต่อแบบต่างๆ คือ หัวต่อที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ และเครื่องพิมพ์ สายแลน เป็นต้น ลักษณะของหัวต่อแต่ละแบบจะมีมาตรฐานและแตกต่างกันออกไปอยู่แล้ว จึงไม่ต้องกังวลว่าจะเสียบผิดรูปแบบ เพราะแต่ละหัวต่อจะมีรูปแบบไม่เหมือนกัน พอร์ตเชื่อมต่อต่างๆบนเมนบอร์ด มีดังนี้ 1. หัวต่อคีย์บอร์ดหรือเมาส์แบบ PS2 จะใช้คีย์บอร์ดก็ได้ หรือเมาส์ก็ได้ ปัจจุบันหัวต่อ PS2 ได้เลิกใช้งานไปแล้ว 2. หัวต่อ USB 2.0 ใช้สำหรับเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่างๆที่ใช้สาย USB ต่าง ความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูล USB 2.0 นี้มีมากถึง 480 Mbps  3. หัวต่อจอภาพ แบบ Display port ใช้สำหรับเชื่อมต่อจอภาพที่เป็นประเภท Display port ส่งข้อมูลภาพได้สูง เหมาะสำหรับทำ Multi Display หรือการเชื่อมต่อหลายๆจอภาพ 4. หัวต่อจอภาพแบบ HDMI ปัจจุบัน (ปี 2020) เริ่มมีการใช้มากขึ้น เนื่องจากส่งข้อมูลความละเอียดภาพได้มากถึง 4K และอนาคตจะมีการพัฒนาเพิ่มขึ้นอีก 5. หัวต่อจอภาพแบบ DVI เป็นการพัฒนาการส่งออกจอภาพต่อจาก VGA เป็นช่วงเวลานึง ปัจจุบันจะไม่ค่อยมีใช้แล้ว 6. หัวต่อจอภาพแบบ VGA ใช