ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

การตรวจเช็ค เวอร์ชัน Windows ที่กำลังใช้งาน

การตรวจเช็ค เวอร์ชัน Windows ที่กำลังใช้งาน

การตรวจเช็ค เวอร์ชัน Windows ที่กำลังใช้งาน หรือต้องการติดตั้ง Driver อุปกรณ์ต่อพ่วง แต่ไม่ทราบเวอร์ชัน Windows หรือ หากกำลังสนทนากับช่างไอทีในการแก้ไขปัญหาเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วช่างไอทีสอบถามเกี่ยวกับเวอร์ชันของ Windows สามารถทำอย่างง่ายๆ สามารถทำได้  4 ทางคือ

1. การตรวจเช็คเฉพาะเวอร์ชันของ Windows 

การตรวจเช็คเฉพาะเวอร์ชันว่าเรากำลังใช้งาน Windows อะไร คือ เปิดโปรแกรม Dos หรือ Commnad promt ขึ้น โดยการกดปุ่ม Window + R (ปุ่ม window จะเป็นรูปหน้าต่างวินโดว์ อยู่ระหว่างปุ่ม Alt และ Ctrl ครับ กดแช่ไว้เร็วๆแล้วกดปุ่ม R) จากนั้นพิมพ์คำสั่ง cmd แล้วกด Enter หรือจะคลิ๊กปุ่ม OK  ก็ได้


แล้วพิมพ์คำสั่ง winver แล้วกด enter


เขาก็จะบอกตัวใหญ่ๆว่า Windows ที่คุณกำลังใช้คือ Windows 10 นะ และไม่มีบอกรายละเอียดที่เกี่ยวกับฮาร์ดแวร์อะไรเพิ่มเติม

2. การตรวจเช็คเวอร์ชัน Windows และการดูหน่วยความจำในเครื่อง 

การตรวจเช็คเวอร์ชัน Windows และการดูหน่วยความจำในเครื่อง ว่าเราใช้ Windows เวอร์ชันอะไร มีแรมเท่าไหร่  วิธีการนี้ทำได้โดย คลิ๊กขวา My Computer (Windows 7) หรือ This PC (Windows 8 และ Windows 10) จากนั้นเลือกที่เมนู Properties


3. การตรวจเช็คเวอร์ชัน Windows อย่างละเอียด ใน Dos หรือ Command promt 

เปิด Dos หรือ Command promt ขึ้นมา เหมือนข้อแรกครับ
จากนั้นใช้คำสั่ง

systeminfo แล้วกด enter


4. การตรวจเช็คเวอร์ชัน Windows อย่างละเอียด

สุดท้ายคือการดูอย่างละเอียดอีกแบบโดยผ่าน Windows ครับ กดปุ่ม Window + R (ปุ่ม window จะเป็นรูปหน้าต่างวินโดว์ อยู่ระหว่างปุ่ม Alt และ Ctrl ครับ กดแช่ไว้เร็วๆแล้วกดปุ่ม R) จากนั้นพิมพ์คำสั่ง

dxdiag แล้วกด enter




 

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด คอมพิวเตอร์ PC เมนบอร์ดเป็นแผงวงจรหลักที่สำคัญที่สุดของคอมพิวเตอร์ ดังนั้น จึงควรรู้จักตำแหน่งของอุปกรณ์ต่างบนเมนบอร์ดเสียก่อน จึงจะสามารถประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ อุปกรณ์หลักที่สำคัญก็มีช็อกเกตสำหรับติดตั้งซีพียู, ช็อกเกตแรม และซิปเซตที่ทำหน้าที่ควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมด หัวต่อและสล็อตสำหรับติดตั้งอุปกรณ์และการ์ดต่างๆ รวมไปถึงหัวต่อกับอุปกรณ์ภายนอกที่ต่อออกทางด้านหลังเครื่อง อุปกรณ์ที่ติดตั้งบนเมนบอร์ดได้แก่  1. ช็อกเกตซีพียู (CPU Socket) ช็อกเกตซีพียู เป็นตำแหน่งติดตั้งซีพียู โดยรูปแบบของช็อกเกตจะแตกต่างกันไปตามยี่ห้อและรุ่นของซีพียู การซื้อเมนบอร์ดจะต้องตรวจสอบว่าต้องการใช้กับซีพียูยี่ห้อใดและรุ่นไหน หากซื้อซีพียูที่มีช็อกเกตไม่ตรงกับเมนบอร์ดจะไม่สามารถใช้งานได้ ปัจจุบันจะมีช็อกเกตที่ใช้งานบนเมนบอร์ดคือ Intel LGA 775,  Intel LGA 1150, Intel LGA 1151, Intel LGA1155 และ Intel LGA 2066 ใช้สำหรับซีพียู Intel ทั้งหมด แต่ต้องดูด้วยว่า ซีพียู อินเทลใดใช้ช็อกเกตเท่าไหร่ ส่วน AMD AM4, AMD sTRX4 และ AMD TR4 จะใช้สำหรับ CPU AMD เท่านั้นซึ่งก็เหมือนกับ...

การสร้าง URL สั้นๆ เพื่อส่งไฟล์ให้เพื่อน

การสร้าง URL สั้นๆ เพื่อส่งไฟล์ให้เพื่อน การที่จะส่งไฟล์ให้เพื่อน เช่น ไฟล์รูป ไฟล์วีดีโอ หรือโปรแกรมอื่นๆ เวลาที่เราก็อปปี้ลิงค์จาก Google Drive นั้น มักจะเป็นลิงค์ที่ยาว หากเราทำการส่งลิงค์ใน Line เพื่อเปิดใน PC แล้วเพื่อนของคุณไม่ได้ติดตั้ง Line ใน PC ไว้ ต้องมานั่งพิมพ์ URL ยาวๆเอา ซึ่งไม่สะดวกสักเท่าไหร่นัก ดังนั้น เราควรทำลิงค์ให้สั้นๆ เพื่อให้เพื่อนของเราเปิดไฟล์ที่เราแชร์อย่างง่ายดาย ตัวอย่าง เช่น เราต้องการส่ง Link ของ ไฟล์ที่เราแชร์ใน Google drive 1. ให้เราวางข้อมูลที่เราต้องการแชร์  ใน Google ก่อน จากนั้นทำการแชร์ไฟล์ และเปลี่ยนสิทธิ์ในการแชร์ให้เรียบร้อย ดังภาพ 2. ให้เข้าเว็บ  https://www.shorturl.at/  แล้วทำการวางลิงค์ที่เราก็อปปี้มา แล้วกดปุ่ม Shorten URL ครับ จากนั้นก็ส่งลิงค์ให้เพื่อนได้เลยครับ

รวม Code Debug Card Mainboard

รวม Code Debug Card Mainboard สำหรับช่างซ่อมคอมมือใหม่ที่มีเครื่องมือ Debug Card เป็นตัวช่วยแล้ว บางครั้งอาจจะไม่รู้ว่าค่า Error Code นั้นคืออะไร ผมได้สืบหาข้อมูลและเขียนเพื่อเตือนความจำของตนเองไว้ เพราะไม่ค่อยได้ใช้ตัว Debug Card นี้เช่นกัน นานๆครั้งมาใช้นั้น ค่อนข้างที่จะค้นหาข้อมูลอย่างลำบากเช่นกัน ผมจึงได้รวบรวมข้อมูลมาจากเว็บที่หาข้อมูลได้ ขอขอบคุณเจ้าของข้อมูลด้วยครับ CODE : ความหมาย 00 : ไม่มีสัญญาณให้เช็ค CPU หรือลองหา CPU ตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ 01 : CPU TEST รอบที่ 1 02 : CPU TEST รอบที่ 2 04 : TEST Memory รีเฟรช ของอุปกรณ์ ต่าง ๆ  05 : Key board controller อาจมีปัญหา 07 : BIOS battery อาจจะหมด 0B : TEST cmos checksum 0D : เช็ค VGA CARD Interface C0 : ทดสอบหน่วยความจำและ slot(ลองฉีด สเปรย์สารพัดพิษดูครับ) 0E : เช็คหน่วยความจำ VGA(ลองหาตัวใหม่มาเปลี่ยนดูครับ)  11 :อาจมีปัญหาที่ DMA controller 41 : ให้ตรวจสอบ FLOPPY Drive 42 : .ให้ตรวจสอบ HARD DISK 43 : ค้นหาและตรวจสอบ serial และ parallel port 45 : ให้เช็ค Mainboard ว่าเข้า...