คำสั่ง
คำสั่ง telnet
เป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 98 ก็มี)
รูปแบบ $ telnet hostname
เช่น c:\> telnet comsci.rid.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ comsci.rid.ac.th
$ telnet 202.28.54.182 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.28.54.182
$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้น
เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง
คำสั่ง ftp
ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
รูปแบบ $ ftp hostname
คำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่
ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftp
ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการ
ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่
ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftp
ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น
ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง
ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost
ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory
ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์
คำสั่ง ls
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dos
รูปแบบ $ ls [-option] [file]
option ที่สำคัญ
l แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง
a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)
p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory
F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ
/ = directory
* = execute file
@ = link file
ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)
R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)
เช่น
$ ls
$ ls -la
คำสั่ง more
แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น
$ ls -la | more
$ more filename
คำสั่ง cat
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น
$ cat filename
คำสั่ง clear
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง
$ clear
คำสั่ง date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
bobby@comsci:~$ date
Wed Mar 5 08:41:24 ICT 2003
คำสั่ง cal
ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
รูปแบบ $ cal month year เช่น
bobby@comsci:~$ cal
March 2003
Su Mo Tu We Th Fr Sa
1
2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31
คำสั่ง logname
คำสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน
$ logname
คำสั่ง id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน
bobby@comsci:~$ id
uid=1000(bobby) gid=100(users) groups=100(users),0(root)
คำสั่ง tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
bobby@comsci:~$ tty
/dev/pts/0
คำสั่ง hostname
คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
bobby@comsci:~$ hostname
comsci
คำสั่ง uname
คำสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง
bobby@comsci:~$ uname -a
Linux comsci 2.4.18 #4 Fri May 31 01:25:31 PDT 2002 i686 unknown
คำสั่ง history
คำสั่งที่ใช้ดูคำสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้
$ history
เวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคำสั่งที่ต้องการ
คำสั่ง echo
$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ Hello
คำสั่ง who , w และ finger
ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น
bobby@comsci:~$ who
bobby pts/0 Mar 5 08:41
bobby@comsci:~$ w
08:45:08 up 12 days, 15:44, 1 user, load average: 0.00, 0.00, 0.00
USER TTY FROM LOGIN@ IDLE JCPU PCPU WHAT
bobby pts/0 202.183.234.204 08:41 0.00s 0.09s 0.02s w
$ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน
bobby@comsci:~$ finger
Login Name Tty Idle Login Time Office Office Phone
bobby Bobby pts/0 Mar 5 08:41 (202.183.234.204)
$ finger @mail.rid.ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู
$ finger bobby ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป
bobby@comsci:~$ finger bobby
Login: bobby Name: Bobby
Directory: /home/bobby Shell: /bin/bash
On since Wed Mar 5 08:41 (ICT) on pts/0 from 202.183.234.204
Mail last read Wed Mar 5 07:28 2003 (ICT)
No Plan.
$whoami ดูว่าอยู่บน login อะไร
bobby@comsci:~$ whoami
bobby
คำสั่ง pwd
แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
$ pwd
bobby@comsci:~$ pwd
/home/bobby
คำสั่ง mkdir
ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS
$ mkdir dir_name
คำสั่ง cp
ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง
รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target
option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ
option -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วย
option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ
option -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม
$ cp file_test /tmp/file_test
คำสั่ง mv
ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_target
ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp
$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html
คำสั่ง rm
ใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos
รูปแบบ $ rm [-irf] filename
$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้
$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ
คำสั่ง rmdir
ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name
คำสั่ง alias
ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง
$ alias l = ls -l
$ alias c = clear
คำสั่ง unalias
ใช้ยกเลิก alias เช่น
$ unalias c
คำสั่ง whereis
ใช้ตรวจสอบว่าคำสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบ
รูปแบบ $ whereis command
$ whereis clear
คำสั่ง find
ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น
$ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin
คำสั่ง grep
ใช้ค้นหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์
$ grep ข้อความ file
คำสั่ง man
man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น
$ man ls
$ man cp
คำสั่ง write
ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคำสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้
เช่น $ write bobby
คำสั่ง mesg
$ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
$ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
$ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
คำสั่ง talk
ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถหยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้
รูปแบบ $ talk username@hostname
คำสั่ง pine
ใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้
คำสั่ง tar
ใช้สำหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาดไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทำการลดขนาด packet ให้เล็กลง
รูปแบบการใช้
$ tar -option output input
-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง
output คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้
input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา
$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*
Option -cvf ใช้สำหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar
$ tar -tvf filename.tar
Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คำสั่งอื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more
$ tar -xvf filename.tar
Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory
คำสั่ง gzip
ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น
$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz
$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
คำสั่ง Compress และ Uncompress
หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น
$ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress
$ uncompress -v file.tar.Z
คำสั่ง telnet
เป็นคำสั่งที่เปลี่ยน host ที่ใช้อยู่ไปยัง host อื่น (ใน Windows 98 ก็มี)
รูปแบบ $ telnet hostname
เช่น c:\> telnet comsci.rid.ac.th เปลี่ยนไปใช้ host ชื่อ comsci.rid.ac.th
$ telnet 202.28.54.182 เปลี่ยนไปใช้ host ที่มี IP = 202.28.54.182
$ telnet 0 telnet เข้า host ที่ใช้อยู่นะขณะนั้น
เมื่อเข้าไปได้แล้วก็จะต้องใส่ login และ password และเข้าสู่ระบบยูนิกส์นั้นเอง
คำสั่ง ftp
ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
รูปแบบ $ ftp hostname
คำสั่ง ftp จะมีคำสั่งย่อยที่สำคัญๆ ได้แก่
ftp> help ใช้เมื่อต้องการดูคำสั่งที่มีอยู่ใในคำสั่ง ftp
ftp> open hostname ใช้เมื่อต้องการ connect ไปยัง host ที่ต้องการ
ftp> close ใช้เมื่อต้องการ disconnect ออกจาก host ที่ใช้งานอยู่
ftp> bye หรือ quit ใช้เมื่อต้องการออกจากคำสั่ง ftp
ftp> ls หรีอ dir ใช้แสดงชื่อไฟล์ที่มีอยู่ใน current directory ของ host นั้น
ftp> get ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost หรือเครื่องของเรานั้นเอง
ftp> mget ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก host ปลายทางมายัง localhost
ftp> put ใช้โอนไฟล์ทีละไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> mput ใช้โอนไฟล์ทีละหลายๆไฟล์จาก localhost ไปเก็บยัง host ปลายทาง
ftp> cd ใช้เปลี่ยน directory
ftp> delete และ mdelete ใช้ลบไฟล์
คำสั่ง ls
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง dir ของ dos
รูปแบบ $ ls [-option] [file]
option ที่สำคัญ
l แสดงแบบไฟล์ละบรรทัด แสดง permission , เจ้าของไฟล์ , ชนิด , ขนาด , เวลาที่สร้าง
a แสดงไฟล์ที่ซ่อนไว้ ( dir /ah)
p แสดงไฟล์โดยมี / ต่อท้าย directory
F แสดงไฟล์โดยมีสัญญลักษณ์ชนิดของไฟล์ต่อท้ายไฟล์คือ
/ = directory
* = execute file
@ = link file
ld แสดงเฉพาะ directory (dir /ad)
R แสดงไฟล์ที่อยู่ใน directory ด้วย (dir /s)
เช่น
$ ls
$ ls -la
คำสั่ง more
แสดงข้อมูลทีละหน้าจอ อาจใช้ร่วมกับเครื่องหมาย pipe line ( | ) หากต้องการดูหน้าถัดไปกด space ดูบรรทัดถัดไปกด Enter เช่น
$ ls -la | more
$ more filename
คำสั่ง cat
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง type ของ dos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์ เช่น
$ cat filename
คำสั่ง clear
มีค่าเหมือนกับ คำสั่ง cls ของ dos ใช้ลบหน้าจอ terminal ให้ว่าง
$ clear
คำสั่ง date
ใช้แสดง วันที่ และ เวลา
bobby@comsci:~$ date
Wed Mar 5 08:41:24 ICT 2003
คำสั่ง cal
ใช้แสดง ปฏิทินของระบบ
รูปแบบ $ cal month year เช่น
bobby@comsci:~$ cal
March 2003
Su Mo Tu We Th Fr Sa
1
2 3 4 5 6 7 8
9 10 11 12 13 14 15
16 17 18 19 20 21 22
23 24 25 26 27 28 29
30 31
คำสั่ง logname
คำสั่งแสดงชื่อผู้ใช้ขณะใช้งาน
$ logname
คำสั่ง id
ใช้แสดงชื่อและกลุ่มมของผู้ใช้งาน
bobby@comsci:~$ id
uid=1000(bobby) gid=100(users) groups=100(users),0(root)
คำสั่ง tty
แสดงหมายเลข terminal ที่ใช้งานอยู่
bobby@comsci:~$ tty
/dev/pts/0
คำสั่ง hostname
คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
bobby@comsci:~$ hostname
comsci
คำสั่ง uname
คำสั่งแสดง ชื่อและรุ่นของ OS ชื่อและรุ่นของ cpu ชื่อเครื่อง
bobby@comsci:~$ uname -a
Linux comsci 2.4.18 #4 Fri May 31 01:25:31 PDT 2002 i686 unknown
คำสั่ง history
คำสั่งที่ใช้ดูคำสั่งที่ใช้ไปแล้วก่อนหน้านี้
$ history
เวลาเรียกใช้ต้องมี ! แล้วตามด้วยหมายเลขคำสั่งที่ต้องการ
คำสั่ง echo
$ echo "Hello" ใช้แสดงข้อความ Hello
คำสั่ง who , w และ finger
ใช้แสดงว่าใครใช้งานอยู่บ้างขณะนั้น
bobby@comsci:~$ who
bobby pts/0 Mar 5 08:41
bobby@comsci:~$ w
08:45:08 up 12 days, 15:44, 1 user, load average: 0.00, 0.00, 0.00
USER TTY FROM LOGIN@ IDLE JCPU PCPU WHAT
bobby pts/0 202.183.234.204 08:41 0.00s 0.09s 0.02s w
$ finger ดูผู้ใช้ที่ host เดียวกัน
bobby@comsci:~$ finger
Login Name Tty Idle Login Time Office Office Phone
bobby Bobby pts/0 Mar 5 08:41 (202.183.234.204)
$ finger @mail.rid.ac.th ดูผู้ใช้โดยระบุ Host ที่จะดู
$ finger bobby ดูผู้ใช้โดยระบุคนที่จะดูลงไป
bobby@comsci:~$ finger bobby
Login: bobby Name: Bobby
Directory: /home/bobby Shell: /bin/bash
On since Wed Mar 5 08:41 (ICT) on pts/0 from 202.183.234.204
Mail last read Wed Mar 5 07:28 2003 (ICT)
No Plan.
$whoami ดูว่าอยู่บน login อะไร
bobby@comsci:~$ whoami
bobby
คำสั่ง pwd
แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
$ pwd
bobby@comsci:~$ pwd
/home/bobby
คำสั่ง mkdir
ใช้สร้าง directory เทียบเท่า MD ใน DOS
$ mkdir dir_name
คำสั่ง cp
ใช้ copy ไฟล์หนึ่ง ไปยังอกไฟล์หนึ่ง
รูปแบบ $ cp [-irfp] file_source file_target
option -i หากมีการทับข้อมูลเดิมจะรอถามก่อนที่จะทับ
option -r copy ไฟล์ทั้งหมดรวมทั้ง directory ด้วย
option -f ไม่แสดงข้อความความผิดพลาดออกหน้าจอ
option -p ยืนยันเวลาและความเป็นเจ้าของเดิม
$ cp file_test /tmp/file_test
คำสั่ง mv
ใช้ move หรือเปลี่ยนชื่อไฟล์
รูปแบบ $ mv [-if] file_source file_target
ความหมายของ option เช่นเดียวกับ cp
$ mv index.html main.html เปลี่ยนชื่อไฟล์ index.html เป็น main.html
คำสั่ง rm
ใช้ลบไฟล์หรือ directory โดยที่ยังมีข้อมูลภายในเทียบเท่า del และ deltree ของ dos
รูปแบบ $ rm [-irf] filename
$ rm -r dir_name ลบ dir_name โดยที่ dir_name เป็น directory ว่างหรือไม่ว่างก็ได้
$ rm -i * ลบทุกไฟล์โดยรอถามตอบ
คำสั่ง rmdir
ใช้ลบ directory ที่ว่าง เทียบเท่ากับ rd ของ Dos
$ rmdir dir_name
คำสั่ง alias
ใช้ย่อคำสั่งให้สั้นลง
$ alias l = ls -l
$ alias c = clear
คำสั่ง unalias
ใช้ยกเลิก alias เช่น
$ unalias c
คำสั่ง whereis
ใช้ตรวจสอบว่าคำสั่งที่ใช้เก็บอยู่ที่ใดของระบบ
รูปแบบ $ whereis command
$ whereis clear
คำสั่ง find
ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ เช่น
$ find /usr/bin -name "*sh" -print หาไฟล์ที่ลงท้ายด้วย sh จาก /usr/bin
คำสั่ง grep
ใช้ค้นหาข้อความที่ต้องการจากไฟล์
$ grep ข้อความ file
คำสั่ง man
man เป็นคำสั่งที่เป็นคู่มือการใช้คำสั่งแต่ละคำสั่งเช่น
$ man ls
$ man cp
คำสั่ง write
ใช้ส่งข้อความไปปรากฎที่หน้าจอของเครื่องที่ระบุในคำสั่งไม่สามารถใช้ข้าม host ได้
เช่น $ write bobby
คำสั่ง mesg
$ mesg ดู status การรับการติดต่อของ terminal
$ mesg y เปิดให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
$ mesg n ปิดไม่ให้ terminal สามารถรับการติดต่อได้
คำสั่ง talk
ใช้ติดต่อสื่อสารแบบสองทาง เหมือนกับการคุยโดยผู้ส่ง ๆ ไปแล้วรอการตอบกลับจาก ผู้รับ สามารถหยุดการติดต่อโดย Ctrl + c สามารถใช้ข้าม host ได้
รูปแบบ $ talk username@hostname
คำสั่ง pine
ใช้อ่านและส่งจดหมายข้างในจะมี menu ให้ใช้
คำสั่ง tar
ใช้สำหรับ รวมไฟล์ย่อยให้เป็นไฟล์ Packet คล้ายๆกับการ zip หลายๆไฟล์ให้เป็นไฟล์เดียวแต่ขนาดไฟล์ไม่ได้ลดลงอย่างการ zip โดยไฟล์ output ที่ได้จะตั้งชื่อเป็น filename.tar หรือการแตกไฟล์ packet จาก filename.tar ให้เป็นไฟล์ย่อยมักจะใช้คู่กับ gzip หรือ compress เพื่อทำการลดขนาด packet ให้เล็กลง
รูปแบบการใช้
$ tar -option output input
-option ประกอบด้วย -cvf , -tvf , -xvf แสดงดังด้านล่าง
output คือ ไฟล์.tar หรืออาจจะเป็น device เช่น tape ก็ได้
input คือ ไฟล์หรือกลุ่มไฟล์หรือ directory หรือรวมกันทั้งหมดที่กล่าวมา
$ tar -cvf Output_file.tar /home/myhome/*
Option -cvf ใช้สำหรับการรวมไฟล์ย่อยไปสู่ไฟล์ .tar จากตัวอย่าง รวมไฟล์ทุกไฟล์ที่อยู่ใน /home/myhome/ เข้าสู่ไฟล์ชื่อ Output_file.tar
$ tar -tvf filename.tar
Option -tvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆแบบ preview คือแสดงให้ดูไม่ได้แตกจริงอาจใช้คู่กับ คำสั่งอื่น เพื่อให้ได้ประโยชน์ตามต้องการ เช่น tar -tvf filename.tar |more
$ tar -xvf filename.tar
Option -xvf ใช้แตกไฟล์ .tar เป็นไฟล์ย่อยๆ โดยจะแตกลง ณ current directory
คำสั่ง gzip
ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น
$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz
$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
คำสั่ง Compress และ Uncompress
หลังจากการ compress แล้วจะได้เป็นชื่อไฟล์เดิมแต่ต่อท้ายด้วย .Z การใช้งานเหมือนกับ gzip และ gzip -d เช่น
$ compress -v file.tar จะได้ไฟล์ชื่อ file.tar.Z โดย Option -v จะเป็นการ verify การ compress
$ uncompress -v file.tar.Z
ความคิดเห็น